บันทึกการเรียนครั้งที่5
ความรู้ที่ได้รับKnowledge
-ทบทวนความรู้เดิมจากสัปดาห์ที่แล้ว-ขั้นอนุรักษ์ การที่เด็กตอบตามที่ตาเห็น โดยเด็กอาจจะใช้เหตุผลไม่ได้ แต่ถ้าเด็กได้ลองทำซำ้ ทบทวนหลายๆครั้ง ก็จะเกิดการเปรียบเทียบทำให้เริ่มใช้มีเหตุผลมากขึ้น
การดูดซึม
การเชื่อมโยง
การเปลี่ยนแปลง
เกิดความรู้ใหม่
-การปฎิสัมพันธ์สิ่งแวดล้อมกับเด็กเช่น
มือ - โอบกอด
ปาก - พูด
-การจัดกิจกรรมต่างๆนั้น ต้องจัดให้ตรงตามพัฒนาการชองเด็ก จัดกิจกรรมให้สอดคล้องเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่ดี
-ปัจจัยวิธีการเรียนรู้
เด็กต้องลงมือกระทำ
ต้องใช้ทฤษฎีของการเรียนรู้มาช่วย เซ่น ธอร์นไดร์ โทมัส ไวกอสกี้
พาฟลอฟ ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
พา พลอฟ เชื่อว่าการเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตจำนวนมากเกิดจากการวางเงื่อนไข กล่าวคือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้าหนึ่งมักมีเงื่อนไขหรือ สถานการณ์เกิดขึ้น ซึ่งในสภาพปกติหรือในชีวิตประจำวันการตอบสนองเช่นนั้นอาจไม่มี เช่น กรณีสุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งและน้ำลายไหล เสียงกระดิ่งเป็นสิ่งเร้าที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไข พาพลอฟ เรียกว่า สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข และปฏิกิริยาน้ำลายไหล เป็นการตอบสนองที่เรียกว่าการตอบสนองที่มีเงื่อนไข
กิจกรรม ออกแบบสิ่งประดิษฐ์จากกระดาษแผ่นเดียว
ปากเป็ดหรรษา
เรียนรู้วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เร็ว ช้า การบังคับ เรืองแรง เมือลงมือกระทำกับสิ่งของ
เรื่องสี การผสมสี ของสีสองสีแล้วเกิดเป็นอีกสีหนึ่ง การทำให้เกิดเสียง
กังหันลม
เรียนรู้เรื่องลม ว่าเราจะมีวิธ๊การใดทำให้กังหันหมุน เป็นคำถามที่ใช้ถามเด็กให้เด็กตอบโดยใช้เหตุผลใช้ประสบการณ์จากสิ่งที่เห็น โดยสิ่งที่เด็กตอบต้องไม่มีผิดถูก เพราะเด็กคิดตามจินตนาการ ครูค่อยอธิบาย
นกทำไม ถึงบินได้
แรงจุด คือ แรงที่ทำให้นกเคลื่อนที่ไปด้านหน้า
แรงยก คือทำให้นกลอยขึ้นสูง
นำ้หนัก เกิดจากแรงดึงดูดของโลก ช่วยให้นกไม่ลอยอย่างไร้ทิศทาง
แรงต้าน เป็นแรงที่กระทำตรงข้ามกับแรงที่เคลื่อนที่ของนกไปข้างหน้าเป็นแรงที่ต่อต้านการเคลื่อนที่
สรุป
การสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นการสอนข้อความรู้ ชึ้งต่างจากการสอนให้ข้อความรู้ตรงที่การสอนข้อความรู้ต้องการความสนใจ การสังเกตุ การจำ และการเรียกความจำจากความเข้าใจถ่ายเชื่อมโยงได้ ไม่ใช่การท่องจำ เรียนรู้จากการให้คิดและมีเหตุผล เกิดจากการเข้าใจมโนทัศน์ เพื่อนำไปสู่ข้อสรุปให้ได้ เด็กต้องเรียนรู้จากประสบการณ์
ทักษะSkill
-การลงมือปฎฺฺิบัติ
-การคิดวิเคราะห์ในการหาคำตอบ
-การออกแบบสื่ออย่างอิสระตามจิตนาการ
การประยุกต์ใช้Apply
-สร้างกิจกรรมเสริมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย
-ใช้ได้จริงกับการทำกิจกรรม
-เพื่อเป็นกิจกรรมส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์
วิธีการสอนTeaching methods
สอนให้นักศึกษาคิดเองแบบเป็นอิสระ มีคำแนะนำให้เสมอชีทางในสิ่งที่ถูกสอนให้นักศึกษาเข้าใจกระบวนการคิดที่ละขั้นตอนได้ดี
ประเมินAssessment
ห้องเรียนPlace
สะอาดเหมาะบริเวรห้องกว้างเหมาะในการทำกิจกรรม แอร์ไม่เย็นเกินไป
เพื่อนClassmate
มีความพร้อมที่จะเรียน เรียนอย่างมีความสุข ไม่เสียงดัง
ตนเองMyself
ตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย ไม่หลับในห้องเข้าทันอาจารย์เช็คชื่อ
อาจารย์Instructor
สอนสนุกให้คำแนะนำนักศึกษาดี เป็นกันเอง พูดจาไพเราะ
-การออกแบบสื่ออย่างอิสระตามจิตนาการ
การประยุกต์ใช้Apply
-สร้างกิจกรรมเสริมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย
-ใช้ได้จริงกับการทำกิจกรรม
-เพื่อเป็นกิจกรรมส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์
วิธีการสอนTeaching methods
สอนให้นักศึกษาคิดเองแบบเป็นอิสระ มีคำแนะนำให้เสมอชีทางในสิ่งที่ถูกสอนให้นักศึกษาเข้าใจกระบวนการคิดที่ละขั้นตอนได้ดี
ประเมินAssessment
ห้องเรียนPlace
สะอาดเหมาะบริเวรห้องกว้างเหมาะในการทำกิจกรรม แอร์ไม่เย็นเกินไป
เพื่อนClassmate
มีความพร้อมที่จะเรียน เรียนอย่างมีความสุข ไม่เสียงดัง
ตนเองMyself
ตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย ไม่หลับในห้องเข้าทันอาจารย์เช็คชื่อ
อาจารย์Instructor
สอนสนุกให้คำแนะนำนักศึกษาดี เป็นกันเอง พูดจาไพเราะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น