วันพฤหัสบดีที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่6

บันทึกการเรียนครั้งที่6

วัน อังคาร ที่ 15 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2558
ความรู้ที่ได้รับ Knowledge
การพัฒนาสมอง
      สมอง Brain
       - ความหมายคือ การเพิ่มเส้นใยให้กับสมอง ทำให้สมองมีเส้นใยมาก
       - ลักษณะ
       - หน้าที่ การคิดวิเคราะห์
       - การทำงาน
สรุปแบบรวมได้ดั่งต่อไปนี้


ลักษณะ


 หน้าที่และการทำงาน



หลักการและแนวคิดสู่การปฏิบัติ เพื่อพัฒนาเด็ก

Arnold Gesell

                   ฟรอยด์ Freud เชื่อว่าประสบการณ์ในวัยเด็กจะส่งผลต่อแนวคิดในวัยผู้ใหญ๋
การปฎิบัติในการพัฒนาเด็ก ครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งการแสดงออกท่าทีวาจา
                  อิริคสัน Eriksorn เชื่อว่า ถ้าเด็กอยู่ในสังคมสิ่งแวดล้อมที่พอใจ ประสบผลสำเร็จ เด็กจะมองโลกในแง่ดีมีความเชื่อมั่น และไว้วางใจผู้อื่น
                  การปฎิบัติในการพัฒนาเด็ก จัดกิจกรรมให้เด็กประสบผลสำเร็จพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมของห้องเรียน เพื่อน ครู
                  เปตาลอสซี่ Pestalozzi เชื่อว่า ความรักเป็นพื้นฐานสำคัญจำเป็นต่อการพัฒนาเด็กทั้งด้านร่างกายและสติปัญญา
                 การปฎิบัติในการพัฒนาเด็ก จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้ความรักให้เวลา และให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์
                เฟรอเบล Froeble เชื่อว่า ควรส่งเสริมพัฒนาการตามธรรมขาติของเด็กการกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์อย่างเสรี 
                การปฎิบัติในการพัฒนาเด็ก จัดกิจกรรมเรียนรู้ด้านการเล่นอย่างเสรี
สรุป หลักการจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย
          พัฒนาการเด็กให้ครบทุกพัฒนาการ เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขกิจกรรมที่จัดต้องมีความสมดุลยึดเด็กเป็นสำคัญ
การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง
-การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง
-เรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5
-พัฒนาทักษะการสังเกตการเปรียบเทียบ การจำแนก การสรุปจากความคิดรวบยอด
-กิจกรรมโครงสร้าง กิจกรรมประจำวัน กิจกรรมการทดลอง

การเรียนรู้แบบองค์รวม


ความหมายของวิทยาศาสตร์
       การศึกษาสืบค้นและจัดระบบความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติโดยอาศัยกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์โดยอาศัยกระบวนการแสวงหาความรู้
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
-การเปลี่ยนแปลง
-ความแตกต่าง
-การปรับตัว
-การพึ่งพาอาศัยกัน
-ความสมดุล
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1.ขั้นกำหนดปัญหา
2.ขั้นตั้งสมมุติฐาน
3.ขั้นรวบรวมข้อมูล
4.ขั้นลงข้อสรุป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
-ความอยากรู้อยากเห็น
-ความเพียรพยายาม
-ความมีสมดุล
-ความซื่อสัตย์
-ความใจกว้าง
ความสำคัญและประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
ความสำคัญ
-ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก
-พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
-พัฒนาความคิดรวบยอดพื้นฐาน





ทักษะSkill

การนำเสนอบทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
การระดมความคิด

การประยุกต์ใช้Apply

นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการในการจัดทำกิจกรรมต่างๆ

วิธีการสอนTeaching methods

การอธิบายเนื้อหา
การยกตัวอย่างให้มองเห็นภาพ
Power poit




ประเมินAssessment

ห้องเรียนPlace
ห้องเรียนสะอาดอากาศถ่ายเทด
เพื่อนClassmate
พร้อมที่จะเรียนมีความตั้งใจ
ตนเองMyself
ตรงต่อเวลาตั้งใจเรียนมีความสนใจ
อาจารย์Instructor
มีความพร้อมที่จะสอนอยู่เสมอพูดจาไพเราะเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่นักศีกษา





วันอาทิตย์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่5

บันทึกการเรียนครั้งที่5

วัน อังคาร ที่ 8 เดือนกันยายน พ.ศ.2558

ความรู้ที่ได้รับKnowledge

-ทบทวนความรู้เดิมจากสัปดาห์ที่แล้ว
-ขั้นอนุรักษ์ การที่เด็กตอบตามที่ตาเห็น โดยเด็กอาจจะใช้เหตุผลไม่ได้ แต่ถ้าเด็กได้ลองทำซำ้ ทบทวนหลายๆครั้ง ก็จะเกิดการเปรียบเทียบทำให้เริ่มใช้มีเหตุผลมากขึ้น
    การดูดซึม
    การเชื่อมโยง
    การเปลี่ยนแปลง
    เกิดความรู้ใหม่
-การปฎิสัมพันธ์สิ่งแวดล้อมกับเด็กเช่น
     มือ   - โอบกอด
     ปาก - พูด
-การจัดกิจกรรมต่างๆนั้น ต้องจัดให้ตรงตามพัฒนาการชองเด็ก จัดกิจกรรมให้สอดคล้องเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่ดี
-ปัจจัยวิธีการเรียนรู้
      เด็กต้องลงมือกระทำ
      ต้องใช้ทฤษฎีของการเรียนรู้มาช่วย เซ่น ธอร์นไดร์ โทมัส ไวกอสกี้


พาฟลอฟ ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
        พา พลอฟ เชื่อว่าการเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตจำนวนมากเกิดจากการวางเงื่อนไข กล่าวคือ การตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้าหนึ่งมักมีเงื่อนไขหรือ สถานการณ์เกิดขึ้น ซึ่งในสภาพปกติหรือในชีวิตประจำวันการตอบสนองเช่นนั้นอาจไม่มี เช่น กรณีสุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งและน้ำลายไหล เสียงกระดิ่งเป็นสิ่งเร้าที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไข พาพลอฟ เรียกว่า สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข และปฏิกิริยาน้ำลายไหล เป็นการตอบสนองที่เรียกว่าการตอบสนองที่มีเงื่อนไข 
 กิจกรรม ออกแบบสิ่งประดิษฐ์จากกระดาษแผ่นเดียว



ปากเป็ดหรรษา
           เรียนรู้วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เร็ว ช้า การบังคับ เรืองแรง เมือลงมือกระทำกับสิ่งของ
เรื่องสี การผสมสี ของสีสองสีแล้วเกิดเป็นอีกสีหนึ่ง การทำให้เกิดเสียง
                                   

กังหันลม
เรียนรู้เรื่องลม ว่าเราจะมีวิธ๊การใดทำให้กังหันหมุน เป็นคำถามที่ใช้ถามเด็กให้เด็กตอบโดยใช้เหตุผลใช้ประสบการณ์จากสิ่งที่เห็น โดยสิ่งที่เด็กตอบต้องไม่มีผิดถูก เพราะเด็กคิดตามจินตนาการ ครูค่อยอธิบาย
นกทำไม ถึงบินได้
 แรงจุด    คือ แรงที่ทำให้นกเคลื่อนที่ไปด้านหน้า
 แรงยก    คือทำให้นกลอยขึ้นสูง
 นำ้หนัก  เกิดจากแรงดึงดูดของโลก ช่วยให้นกไม่ลอยอย่างไร้ทิศทาง
 แรงต้าน เป็นแรงที่กระทำตรงข้ามกับแรงที่เคลื่อนที่ของนกไปข้างหน้าเป็นแรงที่ต่อต้านการเคลื่อนที่

สรุป 

การสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นการสอนข้อความรู้ ชึ้งต่างจากการสอนให้ข้อความรู้ตรงที่การสอนข้อความรู้ต้องการความสนใจ การสังเกตุ การจำ และการเรียกความจำจากความเข้าใจถ่ายเชื่อมโยงได้ ไม่ใช่การท่องจำ เรียนรู้จากการให้คิดและมีเหตุผล เกิดจากการเข้าใจมโนทัศน์ เพื่อนำไปสู่ข้อสรุปให้ได้ เด็กต้องเรียนรู้จากประสบการณ์





ทักษะSkill

-การลงมือปฎฺฺิบัติ
-การคิดวิเคราะห์ในการหาคำตอบ
-การออกแบบสื่ออย่างอิสระตามจิตนาการ


การประยุกต์ใช้Apply

-สร้างกิจกรรมเสริมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย
-ใช้ได้จริงกับการทำกิจกรรม
-เพื่อเป็นกิจกรรมส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์
วิธีการสอนTeaching methods
สอนให้นักศึกษาคิดเองแบบเป็นอิสระ มีคำแนะนำให้เสมอชีทางในสิ่งที่ถูกสอนให้นักศึกษาเข้าใจกระบวนการคิดที่ละขั้นตอนได้ดี



ประเมินAssessment
ห้องเรียนPlace
สะอาดเหมาะบริเวรห้องกว้างเหมาะในการทำกิจกรรม แอร์ไม่เย็นเกินไป
เพื่อนClassmate
มีความพร้อมที่จะเรียน เรียนอย่างมีความสุข ไม่เสียงดัง
ตนเองMyself
ตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย ไม่หลับในห้องเข้าทันอาจารย์เช็คชื่อ
อาจารย์Instructor
สอนสนุกให้คำแนะนำนักศึกษาดี เป็นกันเอง พูดจาไพเราะ



วันเสาร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่4

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4

วัน อังคาร ที่ 1 เดือน กันยายน พ.ศ.2558

ความรู้ที่ได้รับKnowledge

เข้าร่วมโครงการศึกษาศาสตร์วิชาการในหัวข้อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

โดย อภิภู สิทธิภูมิมงคล มหาวิทยาลัยมหิดล
ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C
    3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น)
    7C ได้แก่ 
        Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา)
        Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
        Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
        Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ)
        Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ)
        Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
        Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)
         แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21  
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกำหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการดำรงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) พัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชำนาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อความสำเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทำงานและการดำเนินชีวิต

ลักษณะของครูในยุคศตวรรษที่21



กรอบประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21

การศึกษาในศตวรรษที่21







สรุป

แนวคิดและทฤษฎีการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ที่มาของทักษะแห่งอนาคต มาจากภาคีความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 (เครือข่าย P21) (Partnership for 21st Century Skills) ในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นภาคีที่รวมกันระหว่าง บริษัทเอกชนชั้นนำขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสำนักงานด้านการศึกษาของรัฐ โดยกำหนดกรอบแนวความคิดออกมาดังนี้
– แกนวิชาหลัก และธีมหลักของศตวรรษที่ 21 ซึ่งทั้งสองส่วนนี้ต้องมีการบูรณาการวิชาให้ครอบคลุม
– ทักษะ 3 อย่างที่เด็กควรจะมี ได้แก่ ทักษะชีวิตและการทำงาน, ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม, ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
– ระบบสนับสนุนการศึกษาของศตวรรษที่ 21
นอกจากนี้แนวความคิดหลักอีกเรื่องที่น่าสนใจ คือ TEACH LESS, LEARN MORE คือ สอนน้อยๆ แต่ให้เด็กเรียนรู้มากๆ
นอกจากนี้ยังอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง PBL – Problem based Learning (กระบวนการเรียนรู้จากปมปัญหาสู่ปัญญา)
การเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะใฝ่หา ความรู้เพื่อแก้ปัญหา โดยเน้นผู้เรียนเป็นผู้ตัดสินใจในสิ่งที่ต้องการแสวงหาความรู้ และรู้จักการทำงานร่วมกันเป็นทีมภายในกลุ่มผู้เรียน โดยผู้สอนมีส่วนร่วมน้อยที่สุด ซึ่งการเรียนรู้จากปัญหาอาจเป็นสถานการณ์จริง




ทักษะskill
ทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่21

การประยุกต์ใช้
นำมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับการสอนให้เหมาะสม