วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บัททึกอนุทินครั้งที่3

บันทึกการเรียนครั้งที่3
วัน อังคาร ที่ 25 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2558
ความรู้ที่ได้รับKnowledge
-อาจารย์ได้แนะนำวิธีการจัดทำblogger ให้ถูกต้องสวยงามตามวิธีให้ดูสละสลวยให้คำแนะนำต่างๆตามความถูกต้อง
-อาจารย์ได้พานักศึกษาไปค้นคว้าหาความรู้ที่ห้องสมุดโดยให้ไปหาความรู้หนังสือที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยไม่ว่าจะเป็นวิธีการสอนในหน่วยต่างๆหรือเกมต่างๆ
สรุปเนื้อหาจากเนื้อหาที่อาจารย์ให้ไปค้นคว้า โดยดิฉันสรุปคู่กับนางสาวรัตนาภรณ์ คงกะพันธ์
สภาพอากาศ เป็นวิทยาศาสตร์ที่หลายคนพูดถึง บทเรียนนี้จะทำให้รู้สึกว่าการพูดคุยกับนักเรียนในสิ่งที่คุ้นเคยกันดี เป็นเรื่องที่ทำได้ไม่ยากโดยจะกล่าวถึงความคิดรวบยอดต่อไปนี้



ดวงอาทิตย์ให้ความอบอุ่นแก่โลก
ความคิดรวบยอด


อภิปรายทั้งชั้น พูดถึงสิ่งที่พบเห็นอย่างย่อๆ และสรุปว่าดวงอาทิตย์มีผลต่ออุณหภูมิอย่างไรครูให้นักเรียนคิดต่อว่าคืนนี้อากาศจะร้อนเท่ากับเวลากลางวันที่มีแสงแดดอย่างนี้หรือไม่


การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของอากาศที่ทำให้เกิดลม
ความคิดรวบยอด





สรุปกิจกรรม

    เวลาได้รับความร้อนนำ้และอากาศจะเบาขึ้นทำให้นำ้และอากาศที่เย็นกว่าเคลื่อนที่เข้ามาข้างใต้ ดันอากาศและนำ้ที่ร้อนขึ้นไป ดังที่เราเห็นเกิดกับนำ้ที่ผสมสี มีอากาศเย็นเคลื่อนที่เข้ามาอย่างรวดเร็วข้างใต้อากาศร้อนทำให้เกิดลม
...นักเรียนลองสังเกตดูที่บ้านว่า เวลาเปิดช่องแช่นำ้ของดู้เย็นในครัวในขณะที่ครัวร้อนและมีไอนำ้มาก ไอเย็นจะเคลื่อนที่ไปทางทิศใด



ทักษะSkills

  การทำกิจกรรมต่างๆต้องคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมรอบด้วย ครูต้องเป็นผู้ที่ข่างสังเกตและร่วมมือทำกิจกรรมต่างๆไปพร้อมกับเด็ก เพื่อให้เกิดผลที่ดีกับตัวเด็ก

การประยุกต์ใช้Apply

-ใช้ในหน่วยการทำกิจกรรมในหน่วยการเรียนรู้ต่างๆ
-ใช้วัสดุอุกรณ์ที่หาง่าย

วิธีการสอนTeaching methods

  การเรียนรู้นอกห้องเรียนเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถเพิ่มพูลความรู้ได้มาก


ประเมินAssessmentห้องเรียนplace
มีหนังสือมากมายให้ค้นคว้าตามที่ต้องการ
ตนเองMyself
แต่งกายเรียบร้อย สนใจเรียนมีความกระตือรือร้น
เพื่อนClassmate
มีความสนใจในการทำงานตรงต่อเวลา
อาจารย์Instructor
มีการแนะนำเนื้อหาและกิจกรรมต่างๆได้เข้าใจ สนใจนักเรียนดียิ้มแย้ม







วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2558

สรุปบทความ


สรุปได้ว่า นิทานเป็นสื่อที่เราเห็นทั่วไป เป็นสื่อการเรียนรู้ที่หาได้ง่าย ส่วนใหญ่นำเอามาเล่าให้เด็กฟังเพื่อความเพลิดเพลินแล้วก็จบไปแต่ที่จริงแล้วนิทานเป็นสื่อที่ดี ช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้หลากหลายที่ชัดเจนคือเรื่องของภาษา คำพูด เสียง ยิ่งนิทานที่มีคำซำ้ๆ เด็กจะฟังและเลียนแบบคำได้นอกจากนั้นก็ยังมีความคิดสร้างสรรค์ มีวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และความรู้ด้านต่างๆสอดแทรกผ่านวิธีคิดที่เป็นเหตุผลเช่น นิทานลูกหมู3 ตัวได้สอดแทรกเรื่องเกี่ยวกับการสร้างบ้าน ลำดับ พื้นที่ ทิศทาง เด็กจะได้ประสบการณ์จากตรงนี้
เทคนิคการเล่านิทาน เลือกให้เหมาะสมกับวัย สร้างอารมณ์ในขณะเล่าโทนเสียง ปล่อยให้เด็กได้ใช้ความคิดในขณะเล่านิทานนอกจากเสียงเล่าแล้วยังมีรูปแบบอื่นประกอบเช่น หุ่นมือ นิ้วมือวาดไปเล่าไปถ้ามีการใช้สื่อเด็กจะชอบการนำของจริงที่เกี่ยวข้องกับนิทานมาให้เด็กดูประกอบการเล่านิทาน อาจทำให้เด็กเกิความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องที่เล่าซึ่งจะนำไปสู่การต่อยอดประสบการณ์ภายหลังได้


           

วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่2

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2
วัน อังคาร ที่ 18 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2558

ความรู้ที่ได้รับ Knowledge
-ทบทวนเนื้อหาเดิมของอาทิตย์ที่แล้ว
-วิทยาศาสตร์ต้องให้เด็กเรียนรู้ด้วยตนเอง คิดเอง วิเคราะห์เอง ต้องเรียนรู้ให้สอดคลองกับวิธีการเรียนรู้
    พัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive development)
        เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เปลี่ยนไปตามลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง ด้านความสามารถ ภาษา พัฒนาการขึ้นมาจากการมีปฎิสัมพันธ์ (Interaction)กับสิ่งแวดล้อม
-ตั้งแต่แรกเกิด ผลของปฏิสัมพันธ์จะทำให้เด็กรู้จักตนเอง (Self) เพราะตอนแรกเด็กยังไม่สามารถแยกตน ออกจากสิ่งแวดล้อมได้
-การมีปฏิสัมพัทธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม
-การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลา และตลอดชืวิตทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุล (Equilibrium)
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ (Interaction)ประกอบด้วย 2 ประการ
2.1กระบวนการดูดซึม (Assimilation)
     Fitting a new experience in to an exisiting mental structure (schema)
การปฏิสัมพันธ์การดูดซึมเช่น การกอด
2.2กระบวนการปรับโครงสร้าง (Accommodation)
    revising an exisitting schema because of new experience
-การเปลี่ยนโครงสร้างกับเชาว์ปัญญา
-การดูดซึมกับประสบการณ์ใหม่
-การปรับแนวคิดการปรับพฤติกรรม
กระบวนการทางสติปัญญา มีดังนี้.....
  1. การซึมซับหรือการดูดซึม (assimilation) เป็นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์ เรื่องราว และข้อมูลต่าง ๆ เข้ามาสะสมเก็บไว้เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป
  2. การปรับและจัดระบบ (accommodation) คือ กระบวนการทางสมองในการปรับประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ให้เข้ากันเป็นระบบหรือเครือข่ายทางปัญญาที่ตนสามารถเข้าใจได้ เกิดเป็นโครงสร้างทางปัญญาใหม่ขึ้น
  3. การเกิดความสมดุล (equilibration) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากขั้นของการปรับ หากการปรับเป็นไปอย่างผสมผสานกลมกลืนก็จะก่อให้เกิดสภาพที่มีความสมดุลขึ้น หากบุคคลไม่สามารถปรับประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เดิมให้เข้ากันได้ ก็จะเกิดภาวะความไม่สมดุลขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญาขึ้นในตัวบุคคล
สรุป จากแนวคิดทฤษฏีการพัฒนาการด้านความรู้คิดของเพียร์เจย์ ความสำคํญของเด็กปฐมวัยและเข้สถึงพัฒนาการสติปัญญาชองเด็กที่จะส่งผลต่อการเป็นผู้ใหญ่ ที่มีคุณภาพในอนาคต




ทักษะSkills

-การยกกรณีตัวอย่างให้มองเห็นภาพ
-การยกตัวอย่างสื่อต่างๆ
-power poit

วิธีการสอนTeaching techniques

มีการทบทวนเนื้อหาเดิมที่เรียนในอาทิตย์ที่ผ่านมาเพื่อทบทวนความจำให้กับนักศึกษา ถามนักศึกษาให้คิดตามตอบอย่างมีเหตุผลและมีการใช่เนื่อหาpower point เพื่อให้มองออกถึงความชัดเจน

การประยุกต์ใช้Apply

-นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงไม่ควรเปรียบเทียบเด็ก ควรให้เด็กมีอิสระที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของเขาไปตามระดับพัฒนาการของเขา นักเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบการณ์



ประเมินAssessment

สภาพห้องเรียนPlace
สะอาดเรียบร้อย อุณหภูมิในห้องพอดีไม่เย็นเกินไป มีความสว่างเพียงพอ
ตนเองMyself
ไปเรียนสายไม่ทันเวลาเรียน ต้องปรับปรุงการไปเรียน ตั้งใจเรียนดีไม่คุยกับเพื่อน
เพื่อนClassmate
แต่งกายเรียบร้อย ทุกคนมีความพร้อมที่จะเรียนหน้าตาสดใสยิ้มแย้ม
อาจารย์Instructor
มีการทักทายนักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีแก่นักศึกษา มีความพร้อมที่จะให้ความรู้กับนักศึกษาอยู่ตลอดเวลาพูดจาไพเราะ มีการถามตอบนักเรียนทำให้บรรยากาศในห้องเรียนไม่น่าเบื่อ





บันทึกอนุทินครั้งที่1

บันทึกการเรียนครั้งที่ 1
วัน อังคาร ที่ 11 เดือน สิงหาคม พศ.2558

ความรู้ที่ได้รับ Knowledge
 แนะนำรายวิชาและเนื้อหาการเรียนการสอนของรายวิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
  -ซื่อสัตย์สุจริตในการทำงาน
  -เคารพกฎระเบียบและข้อตกลงของห้อง
  -ให้ความเคารพครูอาจารย์
ความรู้
  -อธิบายหลัการแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ได้
  -วิเคราะห์และเลือกจิตวิทยาการเรียนรู้ที่สนับสนุนการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ได้
  -วางแผนประเมินการเรียนรู้สาระการเรียนรู้
ทักษะทางปัญญา
  -คิดและวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ
  -สรุปองค์ความรู้จากปัญหาและความต้องการเพื่อการนำไปพัฒนาตนเอง
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
  -ใช้ภาษาในการสื่อสาร
  -ให้ความร่วมมือ
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศ
  -ใช้เทคโนโลยีในการเชื่อมโยงแหล่งเรียนรู้เพื่อศึกษาค้นคว้า สนับสนุนทางการเรียน
  -เลือกใช้ช่องทางสื่อสารอย่างเหมาะสม
ทักษะการจัดการเรียนรู้
  -วางแผน ออกแบบ ปฎิบัติการสอน
  -เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง
การจัดประสบการณ์ เด็กปฐมวัย...
...การพัฒนาการ สติปัญญา ภาษา การคิด แบบสร้างสรรค์มีเหตุผล
...วิธีการเรียนรู้ ต้องลงมือกระทำ
วิทยาศาสตร์สาระสำคัญ
  เรื่องราวที่เกี่ยวกับตัวเด็ก คือเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล สถานที่และธรรมชาติรอบๆตัว สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
  ทักษะการจำแนก
  ทักษะการคำนวณ
  ทักษะการสื่อความหมาย



ทักษะSkills

-การยกตัวอย่างของในชีวิตประจำวันในการเรียนทำให้นักเรียนมองเห็นภาพ
-มีการพูดแนะนำเนื้อหาทำให้นักเรียนสามารถเข้าใจง่าย
-มีการใช้เพาเวอร์พ้อยเปิดให้มองออกถึงภาพจริงและสามารถจำได้

วฺิธีการสอนTeaching methods

    อาจารย์มีการใช้คำถามถึงความเข้าใจในความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ว่ามีความรู้มากน้อยเพียงใด มีการถามตอบเป็นรายบุคคล มีการใช้สื่อpower point ในการบรรยายเนื้อหาในบทเรียน

การประยุกต์ใช้Apply

 - สามารถนำไปพัฒนาด้านการเรียนการสอนของเด็กปฐมวัยเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้
 -การกิจกรรมการเรียนอย่างต่อเนื่อง
 -การนำมาใช้ในการปรับพฤติกรรม




ประเมินAssessment
ตนเองMyself
ห้องเรียนสะอาดแอร์ไม่เย็นเกินไป เหมาะในการเรียนการทำกิจกรรม
เพื่อนClassmate 
มีความกระตือรือร้นในการเรียน แต่งกายมีระเบียบเรียบร้อย พูดจาไพเราะ ตั้งใจฟังอาจารย์สอน
อาจารย์Instructor
ยิ้มแย้มแจ่มใส มีความพร้อมที่จะเรียนไม่คุยกันในห้อง ตั้งใจฟังอาจารย์สอน มีการตอบคำถาม
สภาพห้องเรียนplace
ยิ้มแย้มแจ่มใส มีความเป็นกันเองกับนักศึกษามีความพร้อมที่จะสอนตลอดเวลา เอาใจใส่นักเรียนทุกคน